Premium
Language choice and addressivity strategies in Thai‐English social network interactions
Author(s) -
Seargeant Philip,
Tagg Caroline,
Ngampramuan Wipapan
Publication year - 2012
Publication title -
journal of sociolinguistics
Language(s) - English
Resource type - Journals
SCImago Journal Rank - 1
H-Index - 51
eISSN - 1467-9841
pISSN - 1360-6441
DOI - 10.1111/j.1467-9841.2012.00540.x
Subject(s) - situational ethics , code switching , register (sociolinguistics) , linguistics , face (sociological concept) , code (set theory) , computer science , psychology , sociology , social psychology , philosophy , set (abstract data type) , programming language
This article analyses the language choices used by a community of native Thai speakers in online communicative encounters. Using data drawn from exchanges from a social network site, the article examines the mixed linguistic repertoires evident in these interactions, along with the motivations (both situational and pragmatic) that influence choice of code, script and register, particularly as these are related to issues of addressivity. The data exhibits a great complexity of code‐switching into English, despite the speech community being one for which, according to the participants, Thai would be the default choice in face‐to‐face encounters. In its examination of this data the article has a dual purpose: firstly to provide a descriptive account of this aspect of the use of English online; and secondly to offer an analysis of the strategies of language choice in this particular type of online discourse. บทความนี้ วิเคราะห์การเลือกใช้ภาษาของชุมชนออนไลน์ สำหรับผู้ใช้ภาษาไทยเป็นภาษาแม่ โดยใช้ข้อมูลในการปฏิสัมพันธ์ ของผู้ใช้เว็บไซต์เครือข่ายสังคมออนไลน์ บทความนี้ เน้นการวิเคราะห์รูปแบบการผสมผสานภาษาเชิงภาษาศาสตร์ ในการปฏิสัมพันธ์ รวมไปถึงแรงจูงใจของผู้ใช้ทั้งในรูปแบบสถานการณ์ (situational) และวัจนปฏิบัติศาสตร์ (pragmatic) หรือการใช้ถ้อยความเพื่อสื่อความหมายในการสื่อสาร ซึ่งมีผลต่อการเลือกใช้รหัสภาษา, สคริปต์ และทำเนียบภาษา (register) ซึ่งโดยเฉพาะอย่างยิ่งมีความสอดคล้องกับหัวข้อต่าง ๆ ในการเข้าถึงผู้รับสาร (addressivity) ข้อมูลที่ใช้ในบทความแสดงให้เห็นถึงความซับซ้อนอย่างมากในการผสมผสานของภาษา รวมไปถึงรูปแบบการใช้ภาษาอังกฤษที่แตกต่างกันออกไปอย่างมากมาย แม้ว่าในชุมชนภาษาพูดจะใช้ภาษาหลักเพียงภาษาเดียวคือภาษาไทย ข้อมูลจากผู้เข้าร่วมการวิจัยทำให้ทราบว่าการสื่อสารแบบเผชิญหน้านั้น ผู้เข้าร่วมวิจัยจะเลือกใช้ภาษาไทยเป็นหลัก บทความนี้ มีวัตถุประสงค์หลักสองประการ ได้แก่ ประการแรก เพื่อนำเสนอข้อมูลเชิงบรรยายในมุมมองของการใช้ภาษาอังกฤษในระดับโลกซึ่งมีรูปแบบการใช้ที่ผสมผสาน และประการที่สอง เพื่อเสนอการวิเคราะห์เชิงยุทธศาสตร์ของการเลือกใช้ภาษาในรูปแบบเฉพาะของสัมพันธสารออนไลน์ (online discourse) [Thai]